Skip to main content

มาตรฐานและข้อบังคับเกี่ยวกับ EV

มาตรฐานและข้อบังคับในต่างประเทศ/นานาชาติ
 

 

Open Charge Alliance (OCA)

หน่วยงานกำหนดมาตรฐาน

Open Charge Point Protocol (OCPP)

มาตรฐานโดย OCA

ISO 15118

an international standard for bi-directional digital communications between electric vehicles and the charging station

OpenADR 2.0

 

V2G (Vehicle to Grid) communication

 

OSCP – Open Smart Charging Protocol

 

SAE J1772 Combo

SAE Electric Vehicle and Plug in Hybrid Electric Vehicle Conductive Charge Couple

มาตรฐานและข้อบังคับในไทย

 

 

สถาบันยานยนต์

(หน่วยงาน)

คณะกรรมการนโยบายยานยนต์ไฟฟ้าแห่งชาติ

(หน่วยงาน)

การขออนุญาตประกอบกิจการ สถานีอัดประจุไฟฟ้าเพื่อจำหน่าย

(คู่มือแนะนำการขอประกอบกิจการสถานีอัดประจุไฟฟ้าเพื่อจำหน่าย(ยานยนต์ไฟฟ้า))

  • การออกใบอนุญาตตามมาตรา 47 พ.ร.บ. การประกอบกิจการพลังงานฯ

    • สถานีอัดประจุไฟฟ้ามีขนาดการจำหน่ายไฟฟ้า ซึ่งมีการติดตั้งหม้อแปลง ไฟฟ้าหรือเครื่องแปลงกระแสไฟฟ้า (Grid-Connected Inverter) (แล้วแต่กรณี) ที่มีขนาดรวมตั้งแต่ 1,000 kVA ขึ้นไป

    • สถานีอัดประจุไฟฟ้ามีขนาดการจำหน่ายไฟฟ้าซึ่งมีการติดตั้งหม้อแปลง ไฟฟ้า หรือ เครื่องแปลงกระแสไฟฟ้า (Grid – Connected Inverter) (แล้วแต่กรณี) ที่มีขนาดรวมต่ำกว่า 1,000kVA

  • การออกใบอนุญาตตามมาตรา 48 พ.ร.บ. การประกอบกิจการพลังงานฯ

    • การจัดตั้งสถานีอัดประจุไฟฟ้า ไม่มีลักษณะเป็นโรงงาน ตามกฎหมายว่าด้วยโรงงานจึงไม่เข้าข่ายต้องขอรับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน (ร.ง.4)

    • การจัดตั้งสถานีอัดประจุไฟฟ้า ไม่มีลักษณะการผลิตไฟฟ้า เนื่องจากเป็นการรับไฟฟ้ามาแปลงกระแส เพื่อจำหน่ายให้กับ ยานยนต์ไฟฟ้า จึงไม่เข้าข่ายต้องขอรับใบอนุญาตให้ผลิตพลังงานควบคุม (พค.8)

    • กรณีการจัดตั้งสถานีอัดประจุไฟฟ้า มีการปลูกสร้างสิ่งก่อสร้าง อาคาร เข้าข่ายต้องขอรับใบอนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุม อาคาร โดยผู้ขอรับใบอนุญาตจะต้องยื่นขอรับใบอนุญาตกับสำนักงาน กกพ. ทั้งนี้กรณีที่มี การต่อเติมหรือดัดแปลงสถานีบริการน้ำมันหรือก๊าซ เพื่อติดตั้งแท่นอัดประจุไฟฟ้า ผู้ขอรับใบอนุญาตจะต้องยื่นขอรับใบอนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคารกับหน่วยงาน ท้องถิ่นนั้น ๆ ซึ่งเป็นไปตามที่กำหนดใน MOU ระหว่าง กกพ. กับกระทรวงมหาดไทย หรือ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง

IEC 62196-3:2014 Ed 1.0

ข้อกําหนดเกี่ยวกับขนาดเชิงมิติและรูปแบบของเต้าเสียบและเต้ารับแบบกระแสตรง และแบบรวมกระแสสลับ/กระแสตรง

มอก. 2749 เล่ม 3-2559

เล่ม 3: ข้อกําหนด ความเข้ากันได้เชิงมิติและการ สับเปลี่ยนได้สําหรับขาเสียบ และท่อหน้าสัมผัสของ เต้าไฟฟ้ากระแสตรง และกระแสสลับ/กระแสตรง

รับมาตรฐาน IEC 62196-3:2014 Ed 1.0 มาใช้โดยวิธี พิมพ์ซ้ํา (reprint) ในระดับดัดแปร (modify)

IEC 61851-24:2014 Ed 1.0

มาตรฐาน Digital Communication ระหว่างสถานีอัดประจุไฟฟ้า กระแสตรงกับยานยนต์ไฟฟ้า เพื่อควบคุมการอัดประจุไฟฟ้ากระแสตรง

  • Mode1: AC <16A, <250Vac (1Phase) , <480Vac(3Phase)

  • Mode2: AC <32A, <250Vac(1Phase) , <480Vac(3Phase),

    • ground wire

    • Circuit Breaker

    • Control Pilot Function

    • Residual Current Device: RCD

    • In-cable Control Box: ICCB

  • Mode3: AC EVSE (Mode2 no ICCB)

    • Mode4: DC EVSE (Mode3) IEC 61851-23 และ IEC 61851-24

ISO 15118-1:2013 Ed 1.0

 

ISO 15118-2:2014 Ed 1.0

 

ISO 15118-3:2015 Ed 1.0

Vehicle to grid communication interface -- Part 1: General information and use-case definition

Vehicle-to-Grid Communication Interface -- Part 2: Network and application protocol requirements

Vehicle to grid communication interface -- Part 3: Physical and data link layer requirements

คำศัพท์

คำศัพท์

ความหมาย

Charge point operator

 

e-mobility service provider

 

demand response (DR)

 

distributed energy resources (DER)

 

charge detail record (CDR)

 

Conductive Charging

การอัดประจุไฟฟ้าผ่านตัวนํา

Inductive Charging

การอัดประจุไฟฟ้าแบบเหนี่ยวนํา(ไร้สาย)

Battery Swapping Stations, BSS

สถานีสับเปลี่ยนแบตเตอรี่สําหรับยานยนต์ไฟฟ้า

แหล่งข้อมูล:
-    elexave charger business
-    elexaev BackEN